สำหรับอ่านไว้สอบหน่วยงานต่าง ๆ นะครับ
1.ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ
คำว่างานสารบรรณ ในที่นี้หมายความว่าอย่างไร
1.การรับ ส่ง และเก็บรักษาหนังสือ
2.การร่าง เขียน และพิมพ์หนังสือ
3.งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร
4.งานที่เกี่ยวกับงานทะเบียนเอกสาร
2.หนังสือราชการคืออะไร
1.เอกสารทุกชนิดที่พิมพ์ถูกต้องตามกฎหมาย
2.เอกสารที่เป็นหลักฐานในทางราชการ
3.เอกสารที่มีไปถึงผู้ดำรงตำแหน่งในราชการ
4.เอกสารที่ทางราชการเป็นเจ้าของ
3.งานสารบรรณมีประโยชน์ต่อราชการอย่างไร
1.ทำให้งานสะดวก รวดเร็ว
2.ประหยัดแรงงานและเวลา
3.ทำให้การปฎิบัติงานมีประสิทธิภาพสูง
4.ถูกทุกข้อ
4.หนังสือราชการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณมีกี่ชนิด
1. 4 ชนิด
2. 6 ชนิด
3. 8 ชนิด
4. 10 ชนิด
5.หนังสือราชการที่ต้องปฎิบัติให้เร็วกว่าปกติมีกี่ประเภท
1. 2
2.3
3.4
4.ประเภทเดียว
6.การเก็บหนังสือราชการปกติเก็บรักษาไว้กี่ปี
1. 5 ปี
2.10 ปี
3.15 ปี
4.20 ปี
7.หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธีได้แก่หนังสือชนิดใด
1. หนังสือสั่งการ
2. หนังสือภายใน
3. หนังสือภายนอก
4. หนังสือประทับตรา
8.คณะกรรมการทำลายหนังสือจะต้องแต่งตั้งจากข้าราชการระดับใดขึ้นไป
1.ระดับ 2
2.ระดับ 3
3.ระดับ 4
4.ระดับใดก็ได้
9.ผู้มีอำนาจอนุมัติการทำลายหนังสือราชการในส่วนภูมิภาค ได้แก่ผู้ใด
1.ปลัดจังหวัด
2.ผู้ว่าราชการจังหวัด
3.รองผู้ว่าราชการจังหวัด
4.อธิบดี
10.การตั้งคณะกรรมการทำลายหนังสือให้ตั้งอย่างน้อยกี่คน
1.2คน
2.3คน
3.4คน
4.5คน
11.ผู้มีอำนาจให้ยืมหนังสือราชการระหว่างส่วนราชการจะต้องเป็นผู้อยู่ในตำแหน่งระดับใดขึ้นไป
1.หัวหน้าแผนก
2.หัวหน้าฝ่าย
3.หัวหน้ากอง
4.รองอธิบดี
12.ส่วนราชการเจ้าของเรื่อง ถ้าออกหนังสืออยู่ในระดับกระทรวงให้ลงชื่อส่วนราชการระดับใด ลงไปด้วย
1.ส่วนราชการเจ้าของเรื่อง
2.ระดับกรมและกอง
3.ระดับหน่วยงาน
4.ไม่มีข้อถูก
13.ข้อใดไม่ใช่หนังสือประทับตรา
1.การเตือนเรื่องที่ค้าง
2.การขอรายละเอียดเพิ่มเติม
3.การแจ้งผลงานให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ
4.ตอบรับทราบเกี่ยวกับการเงินที่สำคัญ
14.ข้อใดที่สอดคล้องกับหนังสือสั่งการ
1.คำสั่ง
2.ระเบียบ
3.ข้อบังคับ
4.ถูกทุกข้อ
15.หนังสือประชาสัมพันธ์มีกี่ชนิด
1. 2 ชนิด
2. 3 ชนิด
3. 4 ชนิด
4. 5 ชนิด
16.ข้อใดเป็นหนังสือประชาสัมพันธ์
1.คำสั่ง
2.ระเบียบ
3.ประกาศ
4.ข้อบังคับ
17.หนังสือรับรองการรายงานบันทึกประชุมและหนังสืออื่น เป็นหนังสือประเภทใด
1.หนังสือภายใน
2.หนังสือสั่งการ
3.หนังสือประชาสัมพันธ์
4.หนังสือที่เจ้าหน้าที่จัดทำขึ้น
1.การรับ ส่ง และเก็บรักษาหนังสือ
2.การร่าง เขียน และพิมพ์หนังสือ
3.งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร
4.งานที่เกี่ยวกับงานทะเบียนเอกสาร
2.หนังสือราชการคืออะไร
1.เอกสารทุกชนิดที่พิมพ์ถูกต้องตามกฎหมาย
2.เอกสารที่เป็นหลักฐานในทางราชการ
3.เอกสารที่มีไปถึงผู้ดำรงตำแหน่งในราชการ
4.เอกสารที่ทางราชการเป็นเจ้าของ
3.งานสารบรรณมีประโยชน์ต่อราชการอย่างไร
1.ทำให้งานสะดวก รวดเร็ว
2.ประหยัดแรงงานและเวลา
3.ทำให้การปฎิบัติงานมีประสิทธิภาพสูง
4.ถูกทุกข้อ
4.หนังสือราชการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณมีกี่ชนิด
1. 4 ชนิด
2. 6 ชนิด
3. 8 ชนิด
4. 10 ชนิด
5.หนังสือราชการที่ต้องปฎิบัติให้เร็วกว่าปกติมีกี่ประเภท
1. 2
2.3
3.4
4.ประเภทเดียว
6.การเก็บหนังสือราชการปกติเก็บรักษาไว้กี่ปี
1. 5 ปี
2.10 ปี
3.15 ปี
4.20 ปี
7.หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธีได้แก่หนังสือชนิดใด
1. หนังสือสั่งการ
2. หนังสือภายใน
3. หนังสือภายนอก
4. หนังสือประทับตรา
8.คณะกรรมการทำลายหนังสือจะต้องแต่งตั้งจากข้าราชการระดับใดขึ้นไป
1.ระดับ 2
2.ระดับ 3
3.ระดับ 4
4.ระดับใดก็ได้
9.ผู้มีอำนาจอนุมัติการทำลายหนังสือราชการในส่วนภูมิภาค ได้แก่ผู้ใด
1.ปลัดจังหวัด
2.ผู้ว่าราชการจังหวัด
3.รองผู้ว่าราชการจังหวัด
4.อธิบดี
10.การตั้งคณะกรรมการทำลายหนังสือให้ตั้งอย่างน้อยกี่คน
1.2คน
2.3คน
3.4คน
4.5คน
11.ผู้มีอำนาจให้ยืมหนังสือราชการระหว่างส่วนราชการจะต้องเป็นผู้อยู่ในตำแหน่งระดับใดขึ้นไป
1.หัวหน้าแผนก
2.หัวหน้าฝ่าย
3.หัวหน้ากอง
4.รองอธิบดี
12.ส่วนราชการเจ้าของเรื่อง ถ้าออกหนังสืออยู่ในระดับกระทรวงให้ลงชื่อส่วนราชการระดับใด ลงไปด้วย
1.ส่วนราชการเจ้าของเรื่อง
2.ระดับกรมและกอง
3.ระดับหน่วยงาน
4.ไม่มีข้อถูก
13.ข้อใดไม่ใช่หนังสือประทับตรา
1.การเตือนเรื่องที่ค้าง
2.การขอรายละเอียดเพิ่มเติม
3.การแจ้งผลงานให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ
4.ตอบรับทราบเกี่ยวกับการเงินที่สำคัญ
14.ข้อใดที่สอดคล้องกับหนังสือสั่งการ
1.คำสั่ง
2.ระเบียบ
3.ข้อบังคับ
4.ถูกทุกข้อ
15.หนังสือประชาสัมพันธ์มีกี่ชนิด
1. 2 ชนิด
2. 3 ชนิด
3. 4 ชนิด
4. 5 ชนิด
16.ข้อใดเป็นหนังสือประชาสัมพันธ์
1.คำสั่ง
2.ระเบียบ
3.ประกาศ
4.ข้อบังคับ
17.หนังสือรับรองการรายงานบันทึกประชุมและหนังสืออื่น เป็นหนังสือประเภทใด
1.หนังสือภายใน
2.หนังสือสั่งการ
3.หนังสือประชาสัมพันธ์
4.หนังสือที่เจ้าหน้าที่จัดทำขึ้น
18.หนังสือราชการที่มีคำว่าด่วนมากผู้มีหน้าที่จะต้องปฎิบัติอย่งไร
1.ปฎิบัติโดยเร็ว
2.ปฎิบัติโดยเร็วกว่าปกติ
3.ปฎิบัติโดยเอาใจใส่เป็นพิเศษ
4.ปฎิบัติตามกำหนดเวลาในหนังสือ
19.เลขประจำตัวของส่วนราชการประกอบด้วยเลขกี่ตัว
1. 3 ตัว
2. 4 ตัว
3. 5 ตัว
4. 6 ตัว
20.การปฎิบัติในชั้นความเร็วใช้อักษรสีอะไร
1.ดำ
2.น้ำเงิน
3.แดง
4.เขียวเข้ม
21.พรบ.ระเบียบงานสารบรรณ เกิดขึ้นจากหน่วยงานใด
1.คณะรัฐมนตรี
2.สำนักนายกรัฐมนตรี
3.กระทรวงมหาดไทย
4.กระทรวงศึกษาธิการ
22.ขอบข่ายของงานสารบรรณคือ
1.การจัดทำ
2.การรับ-การส่ง
3.การเก็บรักษา การยืม การทำลาย
4.ถูกทุกข้อ
23.ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 เริ่มใช้บังคับเมื่อใด
1. 1 มีนาคม
2. 1 เมษายน
3. 1 พฤษภาคม
4. 1 มิถุนายน
24.ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ส่งผลให้ระเบียบสารบรรณใดต้องถูกยกเลิก
1. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2506
2. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลงชื่อในหนังสือราชการ พ.ศ.2507
3. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลงชื่อหนังสือราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2516
4.ถูกทุกข้อ
25. ในงานสารบรรณ หนังสือ หมายถึงอะไร
1.หนังสือเรียน
2.หนังสือราชการ
3.หนังสือนอกหลักสูตร
4.หนังสือทุกประเภท
26.ส่วนราชการ ตามระเบียบงานสารบรรณ หมายความว่าอย่างไร
1.กอง กรม
2.กระทรวง ทบวง
3.หน่วยงานและคณะกรรมการ
4.ถูกทุกข้อ
27.ข้อใดไม่ใช่หนังสือราชการ
1.หนังสือที่มีไปมาระหว่างส่วนราชการ
2.เอกสารที่ทางราชการจัดทำขึ้นเพื่อเป็นหลักฐานในราชการ
3.เอกสารที่ทางราชการจัดทำขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคับ
4.นายเขียวมีจดหมายถึงนายแดง เพื่อแจ้งประกาศของทางราชการให้นายแดงทราบ
28.หนังสือราชการมีกี่ชนิด
1. 3 ชนิด
2. 4 ชนิด
3. 5 ชนิด
4. 6 ชนิด
1.หนังสือภายในใช้กระดาษบันทึกข้อความ หนังสือภายนอก ใช้กระดาษตราครุฑ
2.หนังสือภายนอกติดต่อภายในกระทรวงทบวงกรมหรือจังหวัดเดียวกัน
3.หนังสือภายนอกใช้กระดาษบันทึกข้อความ
4.หนังสือภายในใช้กระดาษตราครุฑ
30.หนังสือที่ติดต่อระหว่างกระทรวง หรือส่วนราชการต่างกระทรวง หรือส่วนราชการถึงบุคคลภายนอก เรียกว่าหนังสือประเภทใด
1.หนังสือภายใน
2.หนังสือภายนอก
3.หนังสือประชาสัมพันธ์
4.หนังสือประทับตราแทนการลงลายมือชื่อ
31.หนังสือภายในหมายถึง
1.หนังสือที่ติดต่อภายในจังหวัดเดียวกัน
2.หนังสือที่ติดต่อภายในกรมเดียวกัน
3.หนังสือที่ติดต่อภายในกระทรวงเดียวกัน
4.ถูกทุกข้อ
32.หนังสือประทับตราใช้กระดาษประเภทใด
1.กระดาษตราครุฑ
2.กระดาษอัดสำเนาธรรมดา
3.กระดาษบันทึกข้อความ
4.กระดาษตราครุฑหรือกระดาษบันทึกข้อความ
33.ข้อใดไม่ใช่หนังสือประทับตรา
1.หนังสือเตือนเรื่องที่ค้าง
2.หนังสือที่ ส.ส.มีไปถึงผู้ใหญ่บ้าน
3.หนังสือที่ขอรายละเอียดเพิ่มเติม
4.หนังสือตอบรับทราบที่ไม่เกี่ยวกับราชการสำคัญหรือการเงิน
34.หนังสือภายในถึงบุคคลธรรมดา ใช้คำขึ้นต้นว่าอย่างไร
1.ถึง.....
2.เรียน.....
3.กราบเรียน......
4.ขอประทานเสนอ
35.ข้อใดจัดว่าเป็นหนังสือประเภทแถลงการณ์
1.ประชาสัมพันธ์
2.ประทับตรา
3.ภายนอก
4.สั่งการ
36.ส่วนราชการเจ้าของเรื่องหรือส่วนราชการเจ้าของหนังสือ ตั้งแต่ระดับกรมขึ้นไปจะต้องเขียนชื่อส่วนราชการอย่างไร
1.เขียนระดับกอง
2.เขียนระดับฝ่าย
3.เขียนระดับกรมและกอง
4.เขียนระดับกระทรวง ทบวง
37.หนังสือสั่งการ มีกี่ชนิด อะไรบ้าง
1.มีชนิดเดียว คิคำสั่ง
2. ชนิด คือคำสั่ง ระเบียบ
3. ชนิด คือ คำสั่ง ระเบียบ ข้อบังคับ
4. ชนิด คือ คำสั่ง ระเบียบ ข้อบังคับ กฎหมาย
38.บรรดาข้อความทั้งหลายที่ผู้มีอำนาจหน้าที่วางไว้เพื่อถือเป็นหลักปฎิบัติงานเป็นการประจำเรียกว่าอะไร
1.คำสั่ง
2.ระเบียบ
3.ข้อบังคับ
4.กฎกระทรวง
39.บรรดาข้อความทั้งหลายที่ผู้มีอำนาจหน้าที่กำหนดให้ใช้โดยอาศัยอำนาจของกฎหมายเรียกว่าอะไร
1.คำสั่ง
2.ข้อบังคับ
3.ระเบียบ
4.กฎกระทรวง
40.คำสั่งบรรดาข้อความที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการให้ปฎิบัติโดยชอบด้วยกฎหมาย ใช้กระดาษชนิดใด
1.กระดาษ A 4
2.กระดาษ B 4
3.กระดาษตราครุฑ
4.กระดาษบันทึกข้อความ
41.ข้อความใดกล่าวผิด เกี่ยวกับระเบียบ
1.ระเบียบต้องใช้กระดาษตราครุฑ
2.บรรดาข้อความที่ผู้มีอำนาจหน้าที่ได้วางไว้
3.ระเบียบต้องอาศัยอำนาจทางกฎหมายทุกเรื่อง
4.ระเบียบจะอาศัยอำนาจกฎหมายหรือไม่ก็ได้
42.บรรดาข้อความทั้งหลายที่ทางราชการเผยแพร่ให้ประชาชนรับทราบทั่วไป เรียกว่าอะไร
1.ข่าว
2.ประกาศ
3.แถลงการณ์
4.ประชาสัมพันธ์
43.หนังสือประชาสัมพันธ์มีกี่ชนิด
1.มี 4 ชนิด คือ ประกาศ แถลงการณ์ แจ้งความ
2.มี 3 ชนิด คือ ประกาศ แถลงการณ์ ข่าว
3.มี 2 ชนิด ประกาศ แจ้งความ
4.มีเพียงชนิดเดียว คือ แถลงการณ์
44.ข้อความใดกล่าวผิดเกี่ยวกับข้อบังคับ
1.ข้อบังคับต้องอาศัยกฎหมายที่บัญญัติให้กระทำ
2.บรรดาข้อความที่ผู้มอำนาจหน้าที่กำหนดให้ใช้
3.ข้อบังคับใช้กระดาษบันทึกข้อความ
4.ข้อบังคับใช้กระดาษตราครุฑ
45.บรรดาข้อความที่ทางราชการเห็นสมควรเผยแพร่ให้ประชาชนได้ทราบทั่วไป เรียกว่าอะไร
1.แถลงการณ์
2.ประกาศ
3.คำสั่ง
4.ข่าว
46.ข้อใดหมายถึงบัตรค้นเรื่อง
1.บัตรอ้างอิง
2.บัตรดัชนี*
3.บัตรนำ
4.ถูกทุกข้อ
47.ข้อใดไม่ใช่หนังสือสั่งการ
1.คำสั่ง
2.ประกาศ*
3.ระเบียบ
4.ข้อบังคับ
48.คำสั่งมีหัวข้ออะไรบ้าง
1.คำสั่งที่
2.สั่ง ณ วันที่
3.ลงชื่อ ตำแหน่ง
4.ถูกทุกข้อ*
49.บรรดาข้อความทั้งหลายที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการให้ปฎิบัติโดยชอบด้วยกฎหมาย เรียกว่าอะไร
1.คำสั่ง*
2.ระเบียบ
3.ข้อบังคับ
4.วินัย
50.หนังสือรับรอง คือหนังสือที่ส่วนราชการออกให้แก่ใคร
1.นิติบุคคล
2.หน่วยงาน
3.บุคคล
4.ถูกทุกข้อ*
51.หนังสือส่วนราชการระดับใดขึ้นไปที่ใช้ประทับตราแทนการลงชื่อ
1.ระดับกระทรวง
2.ระดับแผนก
3.ระดับกอง
4.ระดับกรม*
52.หนังสือประทับตราไม่ใช้สำหรับข้อใด
1.การแจ้งผลงานที่ได้ดำเนินการไปแล้ว
2.การส่งธนาณัติทางไปรษณีย์*
3.การเตือนเรื่องเก่า
4.การส่งสำเนาหนังสือ
53.หนังสือที่ต้องปฎิบัติให้เร็วกว่าปกติเป็นหนังสือที่ต้องจัดส่งและดำเนินการทางสารบรรณด้วยความรวดเร็วเป็นพิเศษ มีกี่ประเภท อะไรบ้าง
1. 4 ประเภท คือ ด่วนที่สุด ด่วนมาก ด่วน ด่วนพิเศษ
2. 3 ประเภท คือ ด่วนที่สุด ด่วนมาก ด่วน*
3. 2 ประเภท คือ ด่วนพิเศษ ด่วนที่สุด
4. 1 ประเภท คือ ด่วนมาก
54.ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของผู้รายงานการประชุม
1. บันทึกความคิดเห็นของผู้ร่วมประชุม
2.จัดหาอาหารพร้อมเครื่องดื่ม*
3.บันทึกความคิดเห็นของผู้มาประชุม
4.บันทึกมติของที่ประชุมไว้เป็นหลักฐาน
55.คำว่า ด่วนมาก ที่มีในหนังสือราชการ พนักงาน หรือ เจ้าหน้าที่ ผู้มีหน้าที่จะต้องดำเนินการอย่างไร
1.ปรึกษาผู้บังคับบัญชาด่วน
2.ปฎิบัติตามกำหนดกฎหมาย
3.ปฎิบัติเร็วกว่าปกติ
4.ปฎิบัติโดยเร็ว*
56.คำว่าด่วน ที่มีในหนังสือราชการ พนักงานหรือเจ้าหน้าที่ผู้มีหน้าที่จะต้องดำเนินการอย่างไร
1.ปฎิบัติเร็วกว่าปกติเท่าที่ทำได้*
2.ปฎิบัติให้เร็วกว่ากำหนดเวลา
3.ปฎิบัติเร็วที่สุด
3.ปฎิบัติโดยเร็ว
57.ตามระเบียบงานสารบรรณ หนังสือราชการที่จัดทำขึ้น จะต้องมีสำเนาคู่ฉบับอย่างน้อยกี่ฉบับ
1.2 ฉบับ*
2.3 ฉบับ
3.ไม่น้อยกว่า 3 ฉบับ
4.2 ฉบับ หรือ 3 ฉบับก็ได้
58.การรับหนังสือราชการ จะต้องปฎิบัติอย่างไรจึงจะถูกต้อง
1.ทำหลักฐานการรับ
2.ลงวันที่ เดือน พ.ศ. ที่รับ
3.ประทับตราที่มุมบนด้านขวา
4.ถูกทุกข้อ*
59.การประทับตรา รับหนังสือ ต้องประทับที่ใด
1.ที่มุมซองด้านซ้าย
2.ที่มุมซองด้านขวา
3.ที่มุมบนด้านซ้ายของหนังสือ
4.ที่มุมบนด้านขวาของหนังสือ*
60.หนังสือสำเนา ผู้รับรองสำเนา คือ ผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องตั้งแต่ระดับใดขึ้นไปรับรอง จึงจะเป็นไปตามระเบียบงานสารบรรณ
1.ระดับ 2*
2.ระดับ 3
4.ระดับ 4
4.ระดับ 5
61.เรื่องราชการที่จะดำเนินการหรือสั่งการด้วยหนังสือได้ไม่ทัน ให้ส่งข้อความทางเครื่องมือสื่อสาร เครื่องมือสื่อสารดังกล่าวชนิดการสั่งการได้เร็วที่สุด
1.โทรเลข
2.โทรสาร*
3.โทรศัพท์
4.โทรพิมพ์
62.หนังสือ เวียน ให้เพิ่มรหัสะยัญชนะ ว ไว้ที่ใด
1.มุมซองทางขวา
2.หลังเลขทะเบียนหนังสือส่ง
3.หน้าเลขทะเบียนหนังสือส่ง*
4.บริเวณใดก็ได้ ขอให้ผู้รับเห็นชัดเจน
63.เมื่อเจ้าหน้าที่งานสารบรรณรับหนังสือรับแล้ว ควรปฎิบัติตามข้อใด
1.จัดลำดับความสำคัญและเร่งด่วน*
2.เปิดซองตรวจเอกสาร
3.ประทับตรารับหนังสือ
4.ลงทะเบียนในหนังสือรับ
64.ข้อใดไม่ใช่หนังสือสั่งการ
1.คำสั่ง
2.ระเบียบ
3.ข้อบังคับ
4.แถลงการณ์*
65.ข้อใดไม่ใช่เรื่องที่จะต้องกรอกรายละเอียดในหนังสือประทับตรา
1.เลขรับ ให้ลงเลขที่รับตามเลขที่รับในทะเบียน
2.เลขส่ง ให้ลงเลขที่ส่งตามเลขที่ส่งในทะเบียน*
3.วันที่ ให้ลงวันที่ เดือน ปี ที่รับหนังสือ
4.เวลา ให้ลงเวลาที่รับหนังสือ
66.การส่งออก ของหนังสือราชการ จะต้องปฎิบัติตามข้อใด
1.ก่อนบรรจุซอง ให้เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานสารบรรณตรวจความเรียบร้อยของหนังสือ
2.ให้เจ้าของเรื่องตรวจความเรียบร้อยของหนังสือ
3.ลงวัน เดือน ปี ที่จะส่งหนังสืออก
4.ถูกทุกข้อ*
67.หนังสือรับรอง ใช้กระดาษใด
1.กระดาษบันทึกข้อความ
2.กระดาษธรรมดา
3.กระดาษตราครุฑ*
4.กระดาษ A 4
68.ระเบียบวาระการประชุมต้องจัดทำและส่งไปให้ผู้เข้าร่วมประชุมพร้อมกับเรื่องใด
1.หนังสือเชิญประชุม*
2.รายงานการประชุม
3.หนังสือยืนยันมติที่ประชุม
4.ญัตติที่ประชุม
69.การเก็บระหว่างปฎิบัติ ตรงกับข้อใดมากที่วุด
1.การเก็บหนังสือที่ยังปฎิบัติไม่เสร็จ*
2.การเก็บหนังสือเมื่อปฎิบัติเสร็จแล้ว
3.การเก็บไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบ
4.การเก็บหนังสือก่อนปฎิบัติ
70.ข้อใดมิใช่เป็นการเก็บหนังสือของทางราชการ
1.การเก็บไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบ
2.การเก็บเมื่อปฎิบัติเสร็จแล้ว
3.การเก็บระหว่างปฎิบัติ
4.การเก็บก่อนปฎิบัติ*
71.การเก็บหนังสือ โดยปกติให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่ากี่ปี
1.5 ปี
2.10 ปี*
3.15 ปี
4.20 ปี
72.หนังสือประเภทใดที่เป็นข้อยกเว้นในเรื่องอายุการเก็บหนังสือ
1.หนังสือที่ต้องสงวนเป็นความลับ
2.หนังสือที่เป็นหลักฐานทางอรรถคดี
3.หนังสือที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์
4.ถูกทุกข้อ*
73.หนังสือราชการฉบับใดที่เจ้าหน้าที่ต้องปฎิบัติทันที เมื่อได้รับ
1.หนังสือแถลงการณ์ลับพิเศษ
2.หนังสือสั่งการโดยเฉพาะ
3.หนังสือจากโทรเลข
4.หนังสือด่วนที่สุด*
74.ผู้อยู่ในตำแหน่งระดับใดขึ้นไป มีอำนาจให้ยืมหนังสือราชการระหว่างส่วนราชการได้
1.รองอธิบดี
2.หัวหน้าฝ่าย
3.หัวหน้ากอง*
4.หัวหน้าแผนก
75.ผู้มายืมและขอรับหนังสือภายในส่วนราชการเดียวกัน ต้องเป็นข้าราชการที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าส่วนราชการในตำแหน่งใดขึ้นไป
1.รองอธิบดี
2.หัวหน้าฝ่าย
3.หัวหน้ากอง
4.หัวหน้าแผนก*
76.ในราชการงานสารบรรณ ใช้เครื่องมือสื่อสารต่อไปนี้ คือ วิทยุ โทรทัศน์ วิทยุกระจายเสียง โทรศัพท์และโทรพิมพ์ในการณีใด
1.เรื่องลับเฉพาะระหว่างผู้บังคับบัญชา
2.สั่งการด้วยหนังสือไม่ทัน*
3.ก่วนที่สุด
4.ด่วนมาก
77.ทุกปีปฎิทินให้ส่วนราชการจัดส่งหนังสือที่มีอายุครบ 20 ปี นับจากวันที่ได้จัดทำขึ้นที่เก็บไว้ ณ ส่วนราชการพร้อมทะเงบัญชีส่งมอบให้แก่ส่วนราชการใดต่อไปนี้
1.สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร*
2.กองทะเบียน สำนักนายกรัฐมนตรี
3.กองการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ
4.กองวัฒนธรรม กรมการศาสนา
78.หนังสือที่ปฎิบัติเสร็จสิ้นแล้วและเป็นคู่สำเนาที่มีต้นเรื่องจะค้นได้จากที่อื่นให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่ากี่ปี
1.1 ปี
2.3 ปี
3.5 ปี*
4.7 ปี
79.หนังสือราชการประเภทใดต่อไปนี้ ต้องเก็บรักษาไว้ 10 ปี จึงจะทำลายได้
1.หนังสือที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์
2.หนังสือที่เกี่ยวกับสถิติหลักฐาน
3.หนังสือที่ต้องใช้สำหรับค้นคว้า
4.ไม่มีหนังสือราชการในข้อใดทำลายได้*
80.แบบพิมพ์ตราครุฑในระเบียบงานสารบรรณขนาดใหญ่ มีความสูงเท่าไหร่
1. 2 ซม.
2. 2.5 ซม.
3. 3 ซม.*
4. 3.5 ซม
81.หนังสือที่เป็นเรื่องธรรมดาสามัญ ซึ่งไม่มีความสำคัญ เมื่อดำเนินการเสร็จแล้วให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่ากี่ปี
1. 1 ปี*
2. 3 ปี
3. 5 ปี
4. 7 ปี
82.แบบพิมพ์ตราครุฑในระเบียบงานสารบรรณขนาดเล็กมีความสูงเท่าไหร่
1. 1.5 ซม*
2. 2 ซม
3. 2.5 ซม.
4. 3 ซม.
83. การทำทะเบียนหนังสือทำเพื่ออะไร
1.ทำเพื่อให้รู้ว่าหนังสืออยู่ที่ใด
2.ทำเพื่อให้รู้ว่าใครรับผิดชอบ
3.ทำเพื่อให้รู้ว่าปฎิบัติไปแล้วอย่างไร
4.ทุกข้อเป็นความมุ่งหมายของการทำทะเบียนหนังสือ*
84. หลังจากสิ้นปีปฎิทินของแต่ละปี ภายในกี่วัน จึงจะทำบัญชีขอทำลายหนังสือ เสนอหัวหน้าส่วนราชการระดับกรม เพื่อพิจารณาแต่งตั้งคณะกรรมการทำลายหนังสือได้
1. 60 วัน*
2. 90 วัน
3. 120 วัน
4. 180 วัน
85.ข้อใดไม่ใช่วิธีการยืมหนังสือที่ส่งเก็บแล้ว
1.ผู้ยืมต้องมอบหลักฐานการยืมให้กับเจ้าหน้าที่เก็บ
2.ผู้ยืมต้องแจ้งให้ทราบว่าเรื่องที่ยืมนั้นจะนำไปใช้ในราชการใด
3.ผู้ให้ยืมต้องยึดบัตรประจำตัวประชาชนหรือบัตรข้าราชการหรือบัตรพนักงานของผู้ยืมเอาไว้*
4.การยืมหนังสือระหว่างส่วนราชการ ผู้ยืมและผู้อนุญาตให้ยืม ต้องเป็นหัวหน้าส่วนราชการระดับกองขึ้นไป
86.เมื่อรับหนังสือแล้ว จะประทับตราลงวันที่ เดือน พ.ศ. จะต้องประทับบริเวณใด
1.มุมล่างด้านขวา
2.มุมบนด้านขวา*
3.มุมบนด้านซ้าย
4.มุมล่างด้านซ้าย
87.วงนอกของตราชื่อส่วนราชการ มีลักษณะเป็นวงกลมสองวงซ้อนกัน มีเส้นผ่าศูนย์กลางเท่าไหร่
1.3.5 ซม.
2.4.5 ซม*
3.5.5 ซม
4.6.5 ซม
88.บัตรยืมหนังสือไม่มีรายละเอียดในเรื่องใด
1.ชื่อหนังสือ
2.ผู้ยืม – ผู้รับ
3.ผู้สั่งมาให้ยืม*
4.วันยืม-กำหนดส่งคืน
89.มาตรฐานกระดาษ โดยปกติใช้กระดาษปอนด์ขาวน้ำหนัก 60 กรัมต่อตารางเมตร กี่ขนาด อะไรบ้าง
1. 4 ขนาด คือ ขนาด เอ 4 เอ 5 เอ 8 และ เอ 9
2. 3 ขนาด คือ ขนาด เอ 4 เอ 5 เอ 8*
3. 2 ขนาด คือขนาด เอ 4 เอ5
4. ขนาดเดียว คือ เอ4
90.การจ่าซองหนังสือราชการ เพื่อส่งทางไปรษณีย์ บริเวณมุมบนด้านซ้ายด้านจ่าหน้าใต้ครุฑเป็นข้อความแทนอะไรต่อไปนี้
1.ลายชื่อหรือประทับตราเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการฝากส่ง
2.ชื่อหรือตำแหน่งของผู้รับ พร้อมที่อยู่หรือสังกัด และรหัสไปรษณีย์
3.ชื่อส่วนราชการ หรือหน่วยงาน และสถานที่ตั้งของส่วนราชการที่ส่งหนังสือ*
4.ผิดทุกข้อ
91.ตราครุฑสำหรับแบบพิมพ์ มีกี่ขนาด อะไรบ้าง
1. มี 3 ขนาด คือ ขนาดครุฑสูง 4.5 ซม. 3 ซม. และ 1.5 ซม
2. มี 2 ขนาด คือ ขนาดครุฑสูง 3 ซม. และ 1.5 ซม.*
3. มีขนาดเดียว คือขนาด 4.5 ซม
4. ผิดทุกข้อ
92.ใครเป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการทำลายหนังสือ
1.ส่วนราชการระดับกอง
2.ส่วนราชการระดับกรม*
3.ส่วนราชการระดับทบวง
4.ส่วนราชการระดับกระทรวง
93.คณะกรรมการทำลายหนังสือ นอกจากมีประธานกรรมการแล้ว จะต้องมีกรรมการอีกอย่างน้อยกี่คน
1. 1 คน
2. 2 คน*
3. 3 คน
4. 4 คน
94.ต้องทำอย่างไรกับเอกสารการเงินซึ่งไม่ใช่เอกสารสิทธิ ที่ไม่มีความจำเป็นต้องเก็บไว้ถึง 10 ปี เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบงานสารบรรณ
1.เสนออนุมัติอธิบดีเจ้าสังกัด
2.เสนอผู้บังคับบัญชาพิจารณาตามความเหมาะสม
3.ให้ทำความตกลงกับกระทรวงการคลัง เพื่อขอทำลาย*
4.ส่งเก็บไว้ที่กองจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร
95.กองจดหมายเหตุแห่งชาติ สังกัดกรมในส่วนราชการใด
1.กรมอนุรักษ์วัตถุโบราณ กระทรวงศึกษาธิการ
2.กรมการศึกษาพิเศษ กระทรวงศึกษาธิการ
3.กรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการ*
4.กรมศิลปากร กระทรวงมหาดไทย
96.มาตราฐานซองปกติใช้กระดาษสีขาวหรือสีน้ำตาล น้ำหนัก 80 กรัมต่อตารางเมตร เว้นแต่ซองขนาด ซี 4 ให้ใช้กระดาษน้ำหนัก 120 กรัมต่อตารางเมตร มีกี่ขนาดอะไรบ้าง
1.มีขนาดเดียวคือ ดีแอล
2.2 ขนาด คือ ซี 4 และซี 5
3.3 ขนาด คือ ซี 4 ซี 5 และ ซี 6
4.4 ขนาด คือ ซี 4 ซี 5 ซี 6 และดีแอล*
97.การเก็บและการค้นที่ดีจะต้องมีระบบอย่างไร
1.สะดวกรวดเร็วและง่ายกว่าวิธีอื่น
2.ถูกและประหยัด
3.สะอาดเรียบร้อย
4.ถูกทุกข้อ*
98.การเขียนหนังสือถึงฯพณฯนายกรัฐมนตรี จ่าหน้าซองว่าอย่างไร
1.ขอประทานกราบเรียน
2.ขอประทานเรียน
3.กราบเรียน*
4.เรียน
99.การเขียนหนังสือราชการไปถึงประธานองคมนตรี ใช้คำขึ้นต้นและคำสรรพนามว่าอย่างไร
1.ขอประทานกราบเรียน-ข้าพเจ้า
2.เรียน-กระผม(ดิฉัน)
3.กราบเรียน-ข้าพเจ้า*
4.เรียน-ข้าพเจ้า
100.หนังสือราชการถึงสมเด็จพระสังฆราช ใช้คำขึ้นต้นว่าอย่างไร
1.ขอประทานกราบทูล สมเด็จพระสังฆราช*
2.ทูลสมเด็จพระสังฆราช
3.กราบทูลสมเด็จพระสังฆราช
4.ทูลสมเด็จพระสังฆราช ทราบฝ่าพระบาท
1.หนังสือที่ติดต่อภายในจังหวัดเดียวกัน
2.หนังสือที่ติดต่อภายในกรมเดียวกัน
3.หนังสือที่ติดต่อภายในกระทรวงเดียวกัน
4.ถูกทุกข้อ
32.หนังสือประทับตราใช้กระดาษประเภทใด
1.กระดาษตราครุฑ
2.กระดาษอัดสำเนาธรรมดา
3.กระดาษบันทึกข้อความ
4.กระดาษตราครุฑหรือกระดาษบันทึกข้อความ
33.ข้อใดไม่ใช่หนังสือประทับตรา
1.หนังสือเตือนเรื่องที่ค้าง
2.หนังสือที่ ส.ส.มีไปถึงผู้ใหญ่บ้าน
3.หนังสือที่ขอรายละเอียดเพิ่มเติม
4.หนังสือตอบรับทราบที่ไม่เกี่ยวกับราชการสำคัญหรือการเงิน
34.หนังสือภายในถึงบุคคลธรรมดา ใช้คำขึ้นต้นว่าอย่างไร
1.ถึง.....
2.เรียน.....
3.กราบเรียน......
4.ขอประทานเสนอ
35.ข้อใดจัดว่าเป็นหนังสือประเภทแถลงการณ์
1.ประชาสัมพันธ์
2.ประทับตรา
3.ภายนอก
4.สั่งการ
36.ส่วนราชการเจ้าของเรื่องหรือส่วนราชการเจ้าของหนังสือ ตั้งแต่ระดับกรมขึ้นไปจะต้องเขียนชื่อส่วนราชการอย่างไร
1.เขียนระดับกอง
2.เขียนระดับฝ่าย
3.เขียนระดับกรมและกอง
4.เขียนระดับกระทรวง ทบวง
37.หนังสือสั่งการ มีกี่ชนิด อะไรบ้าง
1.มีชนิดเดียว คิคำสั่ง
2. ชนิด คือคำสั่ง ระเบียบ
3. ชนิด คือ คำสั่ง ระเบียบ ข้อบังคับ
4. ชนิด คือ คำสั่ง ระเบียบ ข้อบังคับ กฎหมาย
38.บรรดาข้อความทั้งหลายที่ผู้มีอำนาจหน้าที่วางไว้เพื่อถือเป็นหลักปฎิบัติงานเป็นการประจำเรียกว่าอะไร
1.คำสั่ง
2.ระเบียบ
3.ข้อบังคับ
4.กฎกระทรวง
39.บรรดาข้อความทั้งหลายที่ผู้มีอำนาจหน้าที่กำหนดให้ใช้โดยอาศัยอำนาจของกฎหมายเรียกว่าอะไร
1.คำสั่ง
2.ข้อบังคับ
3.ระเบียบ
4.กฎกระทรวง
40.คำสั่งบรรดาข้อความที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการให้ปฎิบัติโดยชอบด้วยกฎหมาย ใช้กระดาษชนิดใด
1.กระดาษ A 4
2.กระดาษ B 4
3.กระดาษตราครุฑ
4.กระดาษบันทึกข้อความ
41.ข้อความใดกล่าวผิด เกี่ยวกับระเบียบ
1.ระเบียบต้องใช้กระดาษตราครุฑ
2.บรรดาข้อความที่ผู้มีอำนาจหน้าที่ได้วางไว้
3.ระเบียบต้องอาศัยอำนาจทางกฎหมายทุกเรื่อง
4.ระเบียบจะอาศัยอำนาจกฎหมายหรือไม่ก็ได้
42.บรรดาข้อความทั้งหลายที่ทางราชการเผยแพร่ให้ประชาชนรับทราบทั่วไป เรียกว่าอะไร
1.ข่าว
2.ประกาศ
3.แถลงการณ์
4.ประชาสัมพันธ์
43.หนังสือประชาสัมพันธ์มีกี่ชนิด
1.มี 4 ชนิด คือ ประกาศ แถลงการณ์ แจ้งความ
2.มี 3 ชนิด คือ ประกาศ แถลงการณ์ ข่าว
3.มี 2 ชนิด ประกาศ แจ้งความ
4.มีเพียงชนิดเดียว คือ แถลงการณ์
44.ข้อความใดกล่าวผิดเกี่ยวกับข้อบังคับ
1.ข้อบังคับต้องอาศัยกฎหมายที่บัญญัติให้กระทำ
2.บรรดาข้อความที่ผู้มอำนาจหน้าที่กำหนดให้ใช้
3.ข้อบังคับใช้กระดาษบันทึกข้อความ
4.ข้อบังคับใช้กระดาษตราครุฑ
45.บรรดาข้อความที่ทางราชการเห็นสมควรเผยแพร่ให้ประชาชนได้ทราบทั่วไป เรียกว่าอะไร
1.แถลงการณ์
2.ประกาศ
3.คำสั่ง
4.ข่าว
46.ข้อใดหมายถึงบัตรค้นเรื่อง
1.บัตรอ้างอิง
2.บัตรดัชนี*
3.บัตรนำ
4.ถูกทุกข้อ
47.ข้อใดไม่ใช่หนังสือสั่งการ
1.คำสั่ง
2.ประกาศ*
3.ระเบียบ
4.ข้อบังคับ
48.คำสั่งมีหัวข้ออะไรบ้าง
1.คำสั่งที่
2.สั่ง ณ วันที่
3.ลงชื่อ ตำแหน่ง
4.ถูกทุกข้อ*
49.บรรดาข้อความทั้งหลายที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการให้ปฎิบัติโดยชอบด้วยกฎหมาย เรียกว่าอะไร
1.คำสั่ง*
2.ระเบียบ
3.ข้อบังคับ
4.วินัย
50.หนังสือรับรอง คือหนังสือที่ส่วนราชการออกให้แก่ใคร
1.นิติบุคคล
2.หน่วยงาน
3.บุคคล
4.ถูกทุกข้อ*
51.หนังสือส่วนราชการระดับใดขึ้นไปที่ใช้ประทับตราแทนการลงชื่อ
1.ระดับกระทรวง
2.ระดับแผนก
3.ระดับกอง
4.ระดับกรม*
52.หนังสือประทับตราไม่ใช้สำหรับข้อใด
1.การแจ้งผลงานที่ได้ดำเนินการไปแล้ว
2.การส่งธนาณัติทางไปรษณีย์*
3.การเตือนเรื่องเก่า
4.การส่งสำเนาหนังสือ
53.หนังสือที่ต้องปฎิบัติให้เร็วกว่าปกติเป็นหนังสือที่ต้องจัดส่งและดำเนินการทางสารบรรณด้วยความรวดเร็วเป็นพิเศษ มีกี่ประเภท อะไรบ้าง
1. 4 ประเภท คือ ด่วนที่สุด ด่วนมาก ด่วน ด่วนพิเศษ
2. 3 ประเภท คือ ด่วนที่สุด ด่วนมาก ด่วน*
3. 2 ประเภท คือ ด่วนพิเศษ ด่วนที่สุด
4. 1 ประเภท คือ ด่วนมาก
54.ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของผู้รายงานการประชุม
1. บันทึกความคิดเห็นของผู้ร่วมประชุม
2.จัดหาอาหารพร้อมเครื่องดื่ม*
3.บันทึกความคิดเห็นของผู้มาประชุม
4.บันทึกมติของที่ประชุมไว้เป็นหลักฐาน
55.คำว่า ด่วนมาก ที่มีในหนังสือราชการ พนักงาน หรือ เจ้าหน้าที่ ผู้มีหน้าที่จะต้องดำเนินการอย่างไร
1.ปรึกษาผู้บังคับบัญชาด่วน
2.ปฎิบัติตามกำหนดกฎหมาย
3.ปฎิบัติเร็วกว่าปกติ
4.ปฎิบัติโดยเร็ว*
56.คำว่าด่วน ที่มีในหนังสือราชการ พนักงานหรือเจ้าหน้าที่ผู้มีหน้าที่จะต้องดำเนินการอย่างไร
1.ปฎิบัติเร็วกว่าปกติเท่าที่ทำได้*
2.ปฎิบัติให้เร็วกว่ากำหนดเวลา
3.ปฎิบัติเร็วที่สุด
3.ปฎิบัติโดยเร็ว
57.ตามระเบียบงานสารบรรณ หนังสือราชการที่จัดทำขึ้น จะต้องมีสำเนาคู่ฉบับอย่างน้อยกี่ฉบับ
1.2 ฉบับ*
2.3 ฉบับ
3.ไม่น้อยกว่า 3 ฉบับ
4.2 ฉบับ หรือ 3 ฉบับก็ได้
58.การรับหนังสือราชการ จะต้องปฎิบัติอย่างไรจึงจะถูกต้อง
1.ทำหลักฐานการรับ
2.ลงวันที่ เดือน พ.ศ. ที่รับ
3.ประทับตราที่มุมบนด้านขวา
4.ถูกทุกข้อ*
59.การประทับตรา รับหนังสือ ต้องประทับที่ใด
1.ที่มุมซองด้านซ้าย
2.ที่มุมซองด้านขวา
3.ที่มุมบนด้านซ้ายของหนังสือ
4.ที่มุมบนด้านขวาของหนังสือ*
60.หนังสือสำเนา ผู้รับรองสำเนา คือ ผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องตั้งแต่ระดับใดขึ้นไปรับรอง จึงจะเป็นไปตามระเบียบงานสารบรรณ
1.ระดับ 2*
2.ระดับ 3
4.ระดับ 4
4.ระดับ 5
61.เรื่องราชการที่จะดำเนินการหรือสั่งการด้วยหนังสือได้ไม่ทัน ให้ส่งข้อความทางเครื่องมือสื่อสาร เครื่องมือสื่อสารดังกล่าวชนิดการสั่งการได้เร็วที่สุด
1.โทรเลข
2.โทรสาร*
3.โทรศัพท์
4.โทรพิมพ์
62.หนังสือ เวียน ให้เพิ่มรหัสะยัญชนะ ว ไว้ที่ใด
1.มุมซองทางขวา
2.หลังเลขทะเบียนหนังสือส่ง
3.หน้าเลขทะเบียนหนังสือส่ง*
4.บริเวณใดก็ได้ ขอให้ผู้รับเห็นชัดเจน
63.เมื่อเจ้าหน้าที่งานสารบรรณรับหนังสือรับแล้ว ควรปฎิบัติตามข้อใด
1.จัดลำดับความสำคัญและเร่งด่วน*
2.เปิดซองตรวจเอกสาร
3.ประทับตรารับหนังสือ
4.ลงทะเบียนในหนังสือรับ
64.ข้อใดไม่ใช่หนังสือสั่งการ
1.คำสั่ง
2.ระเบียบ
3.ข้อบังคับ
4.แถลงการณ์*
65.ข้อใดไม่ใช่เรื่องที่จะต้องกรอกรายละเอียดในหนังสือประทับตรา
1.เลขรับ ให้ลงเลขที่รับตามเลขที่รับในทะเบียน
2.เลขส่ง ให้ลงเลขที่ส่งตามเลขที่ส่งในทะเบียน*
3.วันที่ ให้ลงวันที่ เดือน ปี ที่รับหนังสือ
4.เวลา ให้ลงเวลาที่รับหนังสือ
66.การส่งออก ของหนังสือราชการ จะต้องปฎิบัติตามข้อใด
1.ก่อนบรรจุซอง ให้เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานสารบรรณตรวจความเรียบร้อยของหนังสือ
2.ให้เจ้าของเรื่องตรวจความเรียบร้อยของหนังสือ
3.ลงวัน เดือน ปี ที่จะส่งหนังสืออก
4.ถูกทุกข้อ*
67.หนังสือรับรอง ใช้กระดาษใด
1.กระดาษบันทึกข้อความ
2.กระดาษธรรมดา
3.กระดาษตราครุฑ*
4.กระดาษ A 4
68.ระเบียบวาระการประชุมต้องจัดทำและส่งไปให้ผู้เข้าร่วมประชุมพร้อมกับเรื่องใด
1.หนังสือเชิญประชุม*
2.รายงานการประชุม
3.หนังสือยืนยันมติที่ประชุม
4.ญัตติที่ประชุม
69.การเก็บระหว่างปฎิบัติ ตรงกับข้อใดมากที่วุด
1.การเก็บหนังสือที่ยังปฎิบัติไม่เสร็จ*
2.การเก็บหนังสือเมื่อปฎิบัติเสร็จแล้ว
3.การเก็บไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบ
4.การเก็บหนังสือก่อนปฎิบัติ
70.ข้อใดมิใช่เป็นการเก็บหนังสือของทางราชการ
1.การเก็บไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบ
2.การเก็บเมื่อปฎิบัติเสร็จแล้ว
3.การเก็บระหว่างปฎิบัติ
4.การเก็บก่อนปฎิบัติ*
71.การเก็บหนังสือ โดยปกติให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่ากี่ปี
1.5 ปี
2.10 ปี*
3.15 ปี
4.20 ปี
72.หนังสือประเภทใดที่เป็นข้อยกเว้นในเรื่องอายุการเก็บหนังสือ
1.หนังสือที่ต้องสงวนเป็นความลับ
2.หนังสือที่เป็นหลักฐานทางอรรถคดี
3.หนังสือที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์
4.ถูกทุกข้อ*
73.หนังสือราชการฉบับใดที่เจ้าหน้าที่ต้องปฎิบัติทันที เมื่อได้รับ
1.หนังสือแถลงการณ์ลับพิเศษ
2.หนังสือสั่งการโดยเฉพาะ
3.หนังสือจากโทรเลข
4.หนังสือด่วนที่สุด*
74.ผู้อยู่ในตำแหน่งระดับใดขึ้นไป มีอำนาจให้ยืมหนังสือราชการระหว่างส่วนราชการได้
1.รองอธิบดี
2.หัวหน้าฝ่าย
3.หัวหน้ากอง*
4.หัวหน้าแผนก
75.ผู้มายืมและขอรับหนังสือภายในส่วนราชการเดียวกัน ต้องเป็นข้าราชการที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าส่วนราชการในตำแหน่งใดขึ้นไป
1.รองอธิบดี
2.หัวหน้าฝ่าย
3.หัวหน้ากอง
4.หัวหน้าแผนก*
76.ในราชการงานสารบรรณ ใช้เครื่องมือสื่อสารต่อไปนี้ คือ วิทยุ โทรทัศน์ วิทยุกระจายเสียง โทรศัพท์และโทรพิมพ์ในการณีใด
1.เรื่องลับเฉพาะระหว่างผู้บังคับบัญชา
2.สั่งการด้วยหนังสือไม่ทัน*
3.ก่วนที่สุด
4.ด่วนมาก
77.ทุกปีปฎิทินให้ส่วนราชการจัดส่งหนังสือที่มีอายุครบ 20 ปี นับจากวันที่ได้จัดทำขึ้นที่เก็บไว้ ณ ส่วนราชการพร้อมทะเงบัญชีส่งมอบให้แก่ส่วนราชการใดต่อไปนี้
1.สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร*
2.กองทะเบียน สำนักนายกรัฐมนตรี
3.กองการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ
4.กองวัฒนธรรม กรมการศาสนา
78.หนังสือที่ปฎิบัติเสร็จสิ้นแล้วและเป็นคู่สำเนาที่มีต้นเรื่องจะค้นได้จากที่อื่นให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่ากี่ปี
1.1 ปี
2.3 ปี
3.5 ปี*
4.7 ปี
79.หนังสือราชการประเภทใดต่อไปนี้ ต้องเก็บรักษาไว้ 10 ปี จึงจะทำลายได้
1.หนังสือที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์
2.หนังสือที่เกี่ยวกับสถิติหลักฐาน
3.หนังสือที่ต้องใช้สำหรับค้นคว้า
4.ไม่มีหนังสือราชการในข้อใดทำลายได้*
80.แบบพิมพ์ตราครุฑในระเบียบงานสารบรรณขนาดใหญ่ มีความสูงเท่าไหร่
1. 2 ซม.
2. 2.5 ซม.
3. 3 ซม.*
4. 3.5 ซม
81.หนังสือที่เป็นเรื่องธรรมดาสามัญ ซึ่งไม่มีความสำคัญ เมื่อดำเนินการเสร็จแล้วให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่ากี่ปี
1. 1 ปี*
2. 3 ปี
3. 5 ปี
4. 7 ปี
82.แบบพิมพ์ตราครุฑในระเบียบงานสารบรรณขนาดเล็กมีความสูงเท่าไหร่
1. 1.5 ซม*
2. 2 ซม
3. 2.5 ซม.
4. 3 ซม.
83. การทำทะเบียนหนังสือทำเพื่ออะไร
1.ทำเพื่อให้รู้ว่าหนังสืออยู่ที่ใด
2.ทำเพื่อให้รู้ว่าใครรับผิดชอบ
3.ทำเพื่อให้รู้ว่าปฎิบัติไปแล้วอย่างไร
4.ทุกข้อเป็นความมุ่งหมายของการทำทะเบียนหนังสือ*
84. หลังจากสิ้นปีปฎิทินของแต่ละปี ภายในกี่วัน จึงจะทำบัญชีขอทำลายหนังสือ เสนอหัวหน้าส่วนราชการระดับกรม เพื่อพิจารณาแต่งตั้งคณะกรรมการทำลายหนังสือได้
1. 60 วัน*
2. 90 วัน
3. 120 วัน
4. 180 วัน
85.ข้อใดไม่ใช่วิธีการยืมหนังสือที่ส่งเก็บแล้ว
1.ผู้ยืมต้องมอบหลักฐานการยืมให้กับเจ้าหน้าที่เก็บ
2.ผู้ยืมต้องแจ้งให้ทราบว่าเรื่องที่ยืมนั้นจะนำไปใช้ในราชการใด
3.ผู้ให้ยืมต้องยึดบัตรประจำตัวประชาชนหรือบัตรข้าราชการหรือบัตรพนักงานของผู้ยืมเอาไว้*
4.การยืมหนังสือระหว่างส่วนราชการ ผู้ยืมและผู้อนุญาตให้ยืม ต้องเป็นหัวหน้าส่วนราชการระดับกองขึ้นไป
86.เมื่อรับหนังสือแล้ว จะประทับตราลงวันที่ เดือน พ.ศ. จะต้องประทับบริเวณใด
1.มุมล่างด้านขวา
2.มุมบนด้านขวา*
3.มุมบนด้านซ้าย
4.มุมล่างด้านซ้าย
87.วงนอกของตราชื่อส่วนราชการ มีลักษณะเป็นวงกลมสองวงซ้อนกัน มีเส้นผ่าศูนย์กลางเท่าไหร่
1.3.5 ซม.
2.4.5 ซม*
3.5.5 ซม
4.6.5 ซม
88.บัตรยืมหนังสือไม่มีรายละเอียดในเรื่องใด
1.ชื่อหนังสือ
2.ผู้ยืม – ผู้รับ
3.ผู้สั่งมาให้ยืม*
4.วันยืม-กำหนดส่งคืน
89.มาตรฐานกระดาษ โดยปกติใช้กระดาษปอนด์ขาวน้ำหนัก 60 กรัมต่อตารางเมตร กี่ขนาด อะไรบ้าง
1. 4 ขนาด คือ ขนาด เอ 4 เอ 5 เอ 8 และ เอ 9
2. 3 ขนาด คือ ขนาด เอ 4 เอ 5 เอ 8*
3. 2 ขนาด คือขนาด เอ 4 เอ5
4. ขนาดเดียว คือ เอ4
90.การจ่าซองหนังสือราชการ เพื่อส่งทางไปรษณีย์ บริเวณมุมบนด้านซ้ายด้านจ่าหน้าใต้ครุฑเป็นข้อความแทนอะไรต่อไปนี้
1.ลายชื่อหรือประทับตราเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการฝากส่ง
2.ชื่อหรือตำแหน่งของผู้รับ พร้อมที่อยู่หรือสังกัด และรหัสไปรษณีย์
3.ชื่อส่วนราชการ หรือหน่วยงาน และสถานที่ตั้งของส่วนราชการที่ส่งหนังสือ*
4.ผิดทุกข้อ
91.ตราครุฑสำหรับแบบพิมพ์ มีกี่ขนาด อะไรบ้าง
1. มี 3 ขนาด คือ ขนาดครุฑสูง 4.5 ซม. 3 ซม. และ 1.5 ซม
2. มี 2 ขนาด คือ ขนาดครุฑสูง 3 ซม. และ 1.5 ซม.*
3. มีขนาดเดียว คือขนาด 4.5 ซม
4. ผิดทุกข้อ
92.ใครเป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการทำลายหนังสือ
1.ส่วนราชการระดับกอง
2.ส่วนราชการระดับกรม*
3.ส่วนราชการระดับทบวง
4.ส่วนราชการระดับกระทรวง
93.คณะกรรมการทำลายหนังสือ นอกจากมีประธานกรรมการแล้ว จะต้องมีกรรมการอีกอย่างน้อยกี่คน
1. 1 คน
2. 2 คน*
3. 3 คน
4. 4 คน
94.ต้องทำอย่างไรกับเอกสารการเงินซึ่งไม่ใช่เอกสารสิทธิ ที่ไม่มีความจำเป็นต้องเก็บไว้ถึง 10 ปี เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบงานสารบรรณ
1.เสนออนุมัติอธิบดีเจ้าสังกัด
2.เสนอผู้บังคับบัญชาพิจารณาตามความเหมาะสม
3.ให้ทำความตกลงกับกระทรวงการคลัง เพื่อขอทำลาย*
4.ส่งเก็บไว้ที่กองจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร
95.กองจดหมายเหตุแห่งชาติ สังกัดกรมในส่วนราชการใด
1.กรมอนุรักษ์วัตถุโบราณ กระทรวงศึกษาธิการ
2.กรมการศึกษาพิเศษ กระทรวงศึกษาธิการ
3.กรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการ*
4.กรมศิลปากร กระทรวงมหาดไทย
96.มาตราฐานซองปกติใช้กระดาษสีขาวหรือสีน้ำตาล น้ำหนัก 80 กรัมต่อตารางเมตร เว้นแต่ซองขนาด ซี 4 ให้ใช้กระดาษน้ำหนัก 120 กรัมต่อตารางเมตร มีกี่ขนาดอะไรบ้าง
1.มีขนาดเดียวคือ ดีแอล
2.2 ขนาด คือ ซี 4 และซี 5
3.3 ขนาด คือ ซี 4 ซี 5 และ ซี 6
4.4 ขนาด คือ ซี 4 ซี 5 ซี 6 และดีแอล*
97.การเก็บและการค้นที่ดีจะต้องมีระบบอย่างไร
1.สะดวกรวดเร็วและง่ายกว่าวิธีอื่น
2.ถูกและประหยัด
3.สะอาดเรียบร้อย
4.ถูกทุกข้อ*
98.การเขียนหนังสือถึงฯพณฯนายกรัฐมนตรี จ่าหน้าซองว่าอย่างไร
1.ขอประทานกราบเรียน
2.ขอประทานเรียน
3.กราบเรียน*
4.เรียน
99.การเขียนหนังสือราชการไปถึงประธานองคมนตรี ใช้คำขึ้นต้นและคำสรรพนามว่าอย่างไร
1.ขอประทานกราบเรียน-ข้าพเจ้า
2.เรียน-กระผม(ดิฉัน)
3.กราบเรียน-ข้าพเจ้า*
4.เรียน-ข้าพเจ้า
100.หนังสือราชการถึงสมเด็จพระสังฆราช ใช้คำขึ้นต้นว่าอย่างไร
1.ขอประทานกราบทูล สมเด็จพระสังฆราช*
2.ทูลสมเด็จพระสังฆราช
3.กราบทูลสมเด็จพระสังฆราช
4.ทูลสมเด็จพระสังฆราช ทราบฝ่าพระบาท
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น
เป็นกำลังใจให้นักล่าฝัน..ทุกท่านนะครับ